กศน.ตำบลหนองบัว

 
Online:  1
Visits:  9,613
Today:  8
PageView/Month:  18
Last Update:  4/9/2554
 

เว็บไซด์ที่น่าสนใจ

กศน.อำเภออาจสามารถ

ห้องสมุดประชาชนอ.อาจสามารถ 

  เว็บไซด์ กศน.ตำบล

  กศน.ตำบลอาจสามารถ
  กศน.ตำบลหนองหมื่นถ่าน
  กศน.ตำบลโพนเมือง
  กศน.ตำบลขี้เหล็ก
  กศน.ตำบลโหรา
  กศน.ตำบลหนองบัว
  กศน.ตำบลบ้านแจ้ง
  กศน.ตำบลหนองขาม
  กศน.ตำบลหน่อม
  กศน.ตำบลบ้านดู่

   

Google






ส่วนที่  1  สภาพทั่วไปของตำบลหนองบัว

 

สภาพทั่วไป

 

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของการบริหารส่วนตำบลหนองบัว

                ที่ตั้ง

                                ตำบลหนองบัวมีระยะห่างจากอำเภออาจสามารถประมาณ  15  กิโลเมตร

ซึ่งมีเส้นทางคมนาคมที่สามารถติดต่อประสานงานกับทางอำเภออาจสามารถได้  3  เส้นทาง  คือ

(5)    ตามเส้นทางของสำนักงานกรมโยธาธิการ  สายบ้านหว่านไฟถึงโนนค้อ

(6)    ถนนสายเศรษฐกิจของ  ตำบลหนองบัว  เริ่มจากบ้านหนองบัวผ่านหนองม่วงส้ม         ตำบลโหรา  เชื่อมถนนของสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทเข้าสู่อำเภออาจสามารถ

(7)    ถนนสายเศรษฐกิจของ  ตำบลหนองบัว  แยกจากถนนกรมโยธาธิการ  สายบ้านหว่ายไฟ

ถึงโนนค้อ  ตัดผ่านทุ่งนาทะลุเส้นทางของสำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทระหว่างบ้าน

หนองหมู่เขตอำเภอเมืองสรวงผ่านตำบลโหรา  หนองขาม  เข้าสู่อำเภออาจสามารถ

(25)ตามเส้นทางถนนของ  อบจ.ร้อยเอ็ด  สายบ้านหนองตาโฮมถึงเมืองสรวงเชื่อมถนนของ

สำนักงานเร่งรัดพัฒนาชนบทระหว่างบ้านสำโรงถึงบ้านหนองขี้เหล็กเข้าสู่อำเภอ

อาจสามารถ

 

มีแนวเขตติดต่อกับตำบลและอำเภออื่น  ดังนี้

                ทิศเหนือ                จดกับ                     ตำบลขี้เหล็ก                         อำเภออาจสามารถ

                ทิศใต้                      จดกับ                     ตำบลเมืองสรวง                  อำเภอเมืองสรวง

                ทิศตะวันออก       จดกับ                     ตำบลโหรา                            อำเภออาจสามารถ

                ทิศตะวันตก          จดกับ                     ตำบลบ้านดู่                           อำเภออาจสามารถ

 

เนื้อที่ทั้งหมด

                จำนวน   13,133   ไร่           ประมาณ  21.01  ตารางกิโลเมตร

 

ภูมิประเทศ

                พื้นที่ราบสูง  สภาพดินเป็นดินร่วนปนทราย 

 

 

จำนวนหมู่บ้าน  มี  10  หมู่บ้าน  ดังนี้   

 

           



หมู่ที่

บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร

จำนวนประชากร

รวม

ชาย

หญิง

  1

หนองบัว

134

309

310

619

  2

หนองบัว

142

245

229

474

  3

หนองเรือ

186

475

432

907

  4

หัวหนอง

159

350

361

711

  5

โนนชัย

64

133

125

258

  6

อีเม้ง

64

130

135

265

  7

ขุมเงิน

63

112

125

237

  8

หนองกอง

68

145

142

287

  9

เหล่า

52

121

117

238

  10

หนองบัว

143

215

217

432

รวม

1,075

2,263

2,193

4,456


 

ประชากรที่มีอยู่จริง  ข้อมูล    เดือนมีนาคม 2553

 

ประชากรที่อาศัยอยู่ในพื้นที่จริง  จำนวน  2,927  คน

 

ท้องถิ่นอื่นในตำบล       ไม่มี

 

ประชากร

                ประชากรทั้งหมด                4,456     คน

                                เป็นชาย                 2,263     คน

                                เป็นหญิง               2,193     คน

                จำนวนครัวเรือน                  926         ครัวเรือน

 

 

 

 

 

ผู้นำหมู่บ้าน

 

 



 

หมู่ที่

 

ผู้นำหมู่บ้าน

 

ตำแหน่ง

1

นายบุญมา   ภิบาลวงษ์

ผู้ใหญ่บ้าน

2

นายถนอม  โพธิจันทร์

ผู้ใหญ่บ้าน

3

นายสมหมาย   คมจิตร

ผู้ใหญ่บ้าน

4

นายสุภาพ  คำสีทา

ผู้ใหญ่บ้าน

5

นายเสริม  วิเศษดอนหวาย

ผู้ใหญ่บ้าน

6

นายทองใส  แสงชมภู

ผู้ใหญ่บ้าน

7

นายณรงค์ศักดิ์  พานาดี

ผู้ใหญ่บ้าน

8

นายบัวทอง  สามาลา

ผู้ใหญ่บ้าน

9

นายดาวเรือง วงพระจันทร์

ผู้ใหญ่บ้าน

10

นายราชันย์   บุญเลิศลพ

กำนัน

11

นายบุญมา   ภิบาลวงษ์

ผู้ใหญ่บ้าน


 

สภาพทางเศรษฐกิจ

 

3.       ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม  ได้แก่  ทำไร่  ทำนา  ส่วนอาชีพรองคือ

การเลี้ยงสัตว์

4.       หน่วยธุรกิจ  ในเขต  อบต.

-  ปั๊มน้ำมันและก๊าช                  2              แห่ง

-  ปั๊มหลอด                                  9              แห่ง

-  ร้านค้า                                       35           แห่ง

-  ร้านซ่อม                                   9              แห่ง

-  ร้านเสริมสวย                           1              แห่ง

-  ร้านเต็ดเย็บเสื้อผ้า                   1              แห่ง

-  โรงรับซื้อใบยาสูบ                  1              แห่ง

-  โรงสี                                          20           แห่ง

หมายเหตุ     สำหรับร้านค้าและประกอบกับการขายน้ำมันแบบปั๊มหลอด  จำนวน 4  แห่ง

สภาพทางสังคม

                การศึกษา

                                -  โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา             1              แห่ง

                                -  โรงเรียนประถมศึกษา                                   2              แห่ง

                                -  ศูนย์การเรียนชุมชน                                       1              แห่ง

                                -  ที่อ่านหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน             10           แห่ง

                                -  ศูนย์ข้อมูลหมู่บ้าน                                          10           แห่ง

 

                สถาบันและองค์กรทางศาสนา

                                -   วัด/สำนักสงฆ์                                                                8              แห่ง

 

                สาธารณสุข

                                -  สถานีอนามัยประจำตำบล                             1              แห่ง

                                -  อัตราการใช้และมีส้วมราดน้ำ                      100%

 

                ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                                -  สถานีตำรวจ                                                     -              แห่ง

                                -  สถานีดับเพลิง                                                 -              แห่ง

 

การบริการพื้นฐาน

                การคมนาคม

                                ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว  มีถนนลาดยางสายบ้านหนองตาโฮมถึงเมืองสรวง

เริ่มจากบ้านหนองกองถึงบ้านอี่เม้ง  รวมระยะทาง  3  กิโลเมตร   และถนนปลอดฝุ่นลาดยางผิวเรียบที่บ้าน

หัวหนองระยะทาง  0.966  กิโลเมตร   ที่บ้านหนองบัวระยะทาง  0.800  กิโลเมตร  โดยสำนักงานเร่งรัดพัฒนา

ชนบทถนนคอนกรีตระหว่างหมู่บ้าน  จากบ้านหนองบัวถึงบ้านหัวหนองระยะทาง  500  เมตร  จากบ้าน

หนองบัวถึงบ้านโนนชัยระยะทาง  1,500  เมตร  ถนนระหว่างบ้านหัวหนองถึงบ้านขุมเงินระยะทาง 1,000 เมตร

ถนนลูกรังเป็นเส้นทางส่วนใหญ่ที่ใช้สัญจรไปมาระหว่างหมู่บ้าน  ระหว่างตำบล  ระหว่างอำเภอและระหว่างจังหวัด

 

 

 

การโทรคมนาคม

                                -  หน่วยบริการไปรษณีย์โทรเลข                     1              แห่ง

                                -  สถานีโทรคมนาคมอื่น                                  -              แห่ง

                                -  ตู้โทรศัพท์สาธารณะประจำหมู่บ้าน           มีทุกหมู่บ้าน

               

การไฟฟ้า

                                -  ร้อยละ  99  ครัวเรือน  มีไฟฟ้าใช้

 

                แหล่งน้ำธรรมชาติ

                                -  ลำห้วย  ลำห้วย                                                1              แห่ง

                                -  บึง  หนอง                                                        13           แห่ง

               

                แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

                                -  ฝาย                                                                     -              แห่ง

                                -  บ่อน้ำตื้น                                                           14           แห่ง

                                -  บ่อโยก                                                               34           แห่ง

                                -  ประปาพลังแสงอาทิตย์                                  2              แห่ง

                                -  ประปา                                                               10           แห่ง

 

ข้อมูลอื่นๆ

 

                ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่  ดินเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์

                พลังมวลชนจัดตั้ง

                                -  ลูกเสือชาวบ้าน                                                4              รุ่น

                                -  ไทยอาสาป้องกันชาติ                                     2              รุ่น

                                -   อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน            2              รุ่น

                                -  กองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ              -              รุ่น

                                -  จัดให้มีการฝึกอบรมป้องกันและปราบปรามยาเสพติด  ครั้งที่ 1  ขึ้น ปี 2541  เป็นต้นมา

 

 

 

ศักยภาพในตำบล

                ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบล

                (1)  จำนวนบุคลากร           จำนวน                   23           คน

                                -  ตำแหน่งในสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล                    7              คน

                                -  ตำแหน่งในส่วนการคลัง                                                               4              คน

                                -  ตำแหน่งในส่วนโยธา                                                                    1              คน

                                -  ตำแหน่งในส่วนการศึกษา                                                            3              คน

                                -  ลูกจ้างประจำ(ถ่ายโอนภารกิจ)                                                    1              คน

                                -  พนักงานจ้างตามภารกิจ                                                                3              คน

                                -  พนักงานจ้างทั่วไป                                                                         4              คน

                (2)  ระดับการศึกษาของบุคลากร

                                -  ประถมศึกษา                                                                                    -              คน

                                -  มัธยมศึกษา/อาชีวศึกษา                                                 4              คน

                                -  ปริญญาตรี                                                                                        19           คน

                                -  สูงกว่าปริญญาตรี                                                                            -              คน

                (3)  รายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบล

                                ประจำปีงบประมาณ  2551               จำนวน                   16,234,480.86     บาท  แยกเป็น

                                -  รายได้ภาษีอากร                              จำนวน                   7,255,327.24       บาท

                                -  รายได้ที่มิใช่ภาษีอาการ                 จำนวน                   169,642.22           บาท

                                -  เงินอุดหนุนจากรัฐบาล                                                  8,809,511.40       บาท

 

ศักยภาพของชุมชนและพื้นที่

 

                (1)  การรวมกลุ่มของประชาชน

                                อำนวยกลุ่มทุกประเภท                                      16           กลุ่ม

                                แยกประเภทกลุ่ม

                                                -  กลุ่มอาชีพ                                        10           กลุ่ม

                                                -  กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต          10           กลุ่ม

                                                -  กลุ่มอื่นๆ                                          -              กลุ่ม

 

               

 

(2)  จุดเด่นของพื้นที่(ที่เอื้อต่อการพัฒนาตำบล)

                                -  มีพื้นที่ทำการเกษตรมาก

                                -  อุดมสมบูรร์ด้วยทรัพยากรทางการาเกษตร  โดยเฉพาะข้าว

                                -  ใกล้ชุมชนเมือง  การคมนาคมสะดวก

 

ประวัติความเป็นมาตำบลหนองบัว

 

                เดิมตำบลหนองบัวขึ้นกับตำบลโหรา  อำเภออาจสามารถ  เมื่อปี  2508  ได้แยกออกมาตั้งเป็นตำบล

หนองบัวซึ่งตั้งตามชื่อหมู่บ้านหนองบัวพานแย  และต่อมาจึงตั้งเป็นตำบลหนองบัว  ซึ่งอยู่ในเขตการปกครอง

ของอำเภออาจสามารถ  จังหวัดร้อยเอ็ด  มีเขตพื้นที่การปกครอง อยู่ 10 หมู่บ้าน มีสภาตำบลหนองบัว  1  แห่ง  และมีการจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบล  ตามมาตรา  40  และมาตรา  41  แห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบลพ.ศ.2537  ประกาศ    วันที่  16  ธันวาคม พ.ศ.2539  ในราชกิจจานุเบกษา  ฉบับประกาศทั่วไป  เล่มที่ 113ตอนพิเศษ  52  ลงวันที่  25  ธันวาคม   พ.ศ.2539  มีผลบังคับใช้เมื่อพ้นกำหนดหกสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

 

สภาพทางสังคม

ข้อมูลด้านการศึกษาในตำบลหนองบัว

 



          สถานศึกษา

 จำนวน

             ผู้บริหาร

       ตำแหน่ง

โรงเรียนประถมศึกษา

2 แห่ง

 

 

  โรงเรียนบ้านเหล่าขุมงิน

 

นายถาวร  มูลมณี

ผู้อำนวยการ

  โรงเรียนหนองเรือ

 

นายชูศักดิ์  ศรีตะวัน

ผู้อำนวยการ

โรงเรียนขยายโอกาส

1 แห่ง

 

 

   โรงเรียนบ้านหนองบัว

 

นายสุวรรณชาติ  โพธิจันทร์

ผู้อำนวยการ

กศน.ตำบลหนองบัว

1  แห่ง

นายวัชรพงศ์  จิตไพศาล

หัวหน้ากศน.ตำบล

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

1  แห่ง

 

 

   ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองบัว

 

นางเยวลักษณ์  อาจพงษา

ผู้ดูแลเด็ก


 

 

 

บุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว

 



    ลำดับที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

1

นายณัฐวุฒิ  สุขแสวง

ปลัดอ.บ.ต. หนองบัว

2

นางสุภาพันธ์ หมอกสังข์

หัวหน้าส่วนการคลัง

3

นายธนัญชัย  สารบรรณ

หัวหน้าส่วนโยธา

4

นายพงศ์พัฒน์  คำแพง

หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ

5

นางสาวรัชดากร พลสนอง

เจ้าหน้าที่พนักงานราชการ

6

นายศิริพงษ์ จันทร์ขอนแก่น

นิติกร

7

นายวิทยา  ศรีเมือง

นักวิชาการศึกษา

8

นางสาวพลอยพรพรรณ  เชิงสะอาด

นักพัฒนาชุมชน

9

นาวสาวพิศมัย  มีจันทร์

เจ้าหน้าที่การเงิน

10

นายอนุชา  สืบสำราญ

เจ้าหน้าที่สันทนาการ

11

นางสาวสาธิยา  ผาสุข

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์

12

นาวสาวยุพิน  ยินดีมาก

ผช.เจ้าหน้าที่

13

นายชาญวิทย์  ส่งเสริม

บุคลากร

14

นายวิทยา  ประทุมขันธ์

ป้องกันฯ

15

ส.อ.สมชาย  ใจกล้า

เจ้าหน้าที่สาธารณะสุข

16

นายพงศ์เมธา  ยินดีมาก

เจ้าหน้าที่จัดเก็บ

17

นายวุฒิชัย  ทองคำ

ช่างโยธา

18

นางอาทิตยา  จ้ายหนองบัว

เจ้าหน้าที่การเงิน

19

นางสายฝน  สีราชระคานนท์

เจ้าหน้าที่ธุรการ

20

นายเล็ก   ทองโต

คนงานทั่วไป

21

นางสาวกัลยาสุดา  บัวแก้ว

ครู  ผดด.

22

นายชัยมนตรี  บุญเลิศรพ

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

23

นางสาวภัทรภา  เชื้อลิ้นฟ้า

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

24

นางเยาวลักษณ์ อาจพงษา

ครูผดด.

25

นายทองเลื่อม  ศรีบุญเมือง

นักการภารโรง


 

 

ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐาน กศน. ตำบลหนองบัว

ประวัติความเป็นมา

ศูนย์ การเรียนชุมชนตำบลหนองบัว สภาพโดยทั่วไปตั้งอยู่ภายในบริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลหนองบัว ลักษณะอาคารศูนย์การเรียนชุมชนเป็นตึกชั้นเดียวของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบล หนองบัวหลังเดิม และ กศน.อาจสามารถ ได้ขอใช้สถานที่เป็นศูนย์การเรียนชุมชนตำบลหนองบัว เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมงานการศึกษานอกโรงเรียน 

สภาพปัจจุบันของ กศน. ตำบล

ตัวอาคารกศน.ตำบลหนองบัวมีขนาดพื้นที่ภายในอาคาร 160 ตารางวา สถานที่ตั้งอยู่ในชุมชนมีความสะดวกในการเดินทาง และปลอดภัยแก่ การมาใช้รับบริการ มีพื้นที่เพียงพอที่จะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีความสะอาด  ทั้งภายนอกภายในเป็นสถานที่ที่สามารถเก็บสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างปลอดภัยและ มีแสงสว่างเพียงพอ

มีสื่อ – อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้

                - มีรูปพระบรมฉายาลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                - มีแบบเรียน

                - หนังสือทั่วไป

                - มีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น  แผ่น CD,VCD,DVD

- มีหนังสือพิมพ์/วารสาร

                -  มีการจัดนิทรรศการวันสำคัญต่างๆ

มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

                -  มีข้อมูลชุมชน

                -  มีทำเนียบภูมิปัญญา/แหล่งเรียนรู้

                -  รายชื่อคณะกรรมการศูนย์การเรียนชุมชน/รายชื่อองค์กรนักศึกษา

                -   มีการจัดนิทรรศการวันสำคัญ และกิจกรรมอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับเหตุการณ์ปัจจุบัน

                -   มีข้อมูลผู้เรียน/ผู้รับบริการตามหลักสูตร/กิจกรรมต่าง ๆ

                -    มีสมุดบันทึกแสดงความคิดเห็นของผู้ใช้บริการ /ผู้ตรวจเยี่ยม

  ครุภัณฑ์ที่จำเป็นต่อการส่งเสริมการเรียนรู้

                - มีโต๊ะ- เก้าอี้ที่นั่งสำหรับอ่านหนังสือ เขียนหนังสืออย่างเพียงพอสำหรับใช้บริการ

                -  มีตู้ /ชั้นใส่เอกสาร สื่ออย่างเพียงพอ

                -   มีโทรทัศน์ /เครื่องเล่น VCD ประกอบการใช้เรียนรู้และการพบกลุ่ม

 

 

ข้อมูลชุมชนและฐานข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย (รายหมู่บ้าน)

 



หมู่ที่

บ้าน

จำนวนครัวเรือน

จำนวนประชากร

จำนวนประชากร

รวม

นศ.กศน.ร่วมช/ญ

ชาย

หญิง

  1

หนองบัว

134

309

310

619

12

  2

หนองบัว

142

245

229

474

18

  3

หนองเรือ

186

475

432

907

5

  4

หัวหนอง

159

350

361

711

12

  5

โนนชัย

64

133

125

258

15

  6

อีเม้ง

64

130

135

265

17

  7

ขุมเงิน

63

112

125

237

14

  8

หนองกอง

68

145

142

287

4

  9

เหล่า

52

121

117

238

5

  10

หนองบัว

143

215

217

432

21

รวม

1,075

2,263

2,193

4,456

   123


 

แหล่งการเรียนรู้ในชุมชน( รวมภูมิปัญญาท้องถิ่น )

1.โรงปุ๋ยอินทรีชีวภาพบ้านโนนชัย

2.การทอผ้าไหมลายขิด

3.การสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก

4. การเพาะเลี้ยงกบและการเพาะเลี้ยงปลาดุก

5. การซ่อมเครื่องยนต์

 

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

            มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย  ได้แก่  การท้อผ้าไหมมัดมี่   หมอสู้ขวัญ  การจักสาน  การนวดแผนไทย  หมอตำแย  การรักษาไฟไหม้

 

 

โครงสร้างการบริหาร

บุคลากรกศน.ตำบลหนองบัว

1.  นางสมร  วรชิน                       ตำแหน่ง  ผู้อำนวยการฯ

2.  นาง สมาพร  ศรีหินกอง          ตำแหน่ง  ครูอาสาสมัครฯ

3.  นายวัชรพงศ์  จิตไพศาล          ตำแหน่ง   หัวหน้ากศน.

 

อาสาสมัคร  กศน.ตำบลหนองบัว

1. นางลันดา  เสน่ห์วงศ์  ประธาน

2. นายสฤษดิ์    สนธิรักษ์    รองประธาน

3. นางจุฬาลักษณ์  ขนานไพร   เหรัญญิก

4. นางนงนุษ  พลทิพย์   กรรมการ

5 .นางพอง    บุตรช่วง   กรรมการ

6. นางสาวชลิตา ศาลางาม  กรรมการ

7. นางลัดดา  เสน่ห์วงศ์  กรรมการ

8. นางหนูกาย  วงศ์ศรี   กรรมการ

9. นางทองเดือน  อาจพงษา   กรรมการ

10. นางไข   อาษาเสนา  กรรมการ

11. นางสาววาสนา  มุสุ   กรรมการ

12. นางพิสมัย  อยู่ครบ  กรรมการ

 

คณะกรรมการ กศน. ตำบล

 

1. นายสุรศักดิ์  โพธิจันทร์                         ประธาน

2. สุริยัน  บานเย็น                                      รองประธาน

3. นายสมหมาย  คมจิตร                            เหรัญญิก

4. นายดำรง  ภาพภายสงค์                          กรรมการ

5 .นายเสริม   วิเศษดอนหวาย                     กรรมการ

6. นายณรงศักดิ์   พานาดี                            กรรมการ

7. นางสาคร  ขันบุรี                                    กรรมการ

8. นางลันดา  เสน่ห์วงศ์                              กรรมการ

9. นายเล็ก  ทองโชติ                                   กรรมการ

10. นายเซียน  แนวขี้เหล็ก                         กรรมการ

11. นายบุญมา   ภิบาลวงษ์                         กรรมการ

12. นายถนอม  โพธิจันทร์                          กรรมการ

13. นายวัชรพงศ์  จิตไพศาล                       กรรมการ/เลขานุการ

 

ข้อมูลนักศึกษารายหมู่บ้านประจำภาคเรียนที่ 2/2552

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักสูตร2544(เก่า)  กศน. ตำบลหนองบัว



 

ชื่อหมู่บ้าน

 

หมู่ที่

ระดับม.ต้น

ระดับม.ปลาย

 

รวม

ชาย

หญิง

ชาย

หญิง

หนองบัว

1

5

2

2

-

9

หนองบัว

2

5

1

7

5

18

หนองเรือ

3

5

10

4

1

20

หัวหนอง

4

5

-

6

1

12

โนนชัย

5

-

4

5

6

15

อีเม้ง

6

-

7

4

6

17

ขุมเงิน

7

1

-

2

2

5

หนองกอง

8

1

-

2

1

4

เหล่า

9

1

-

3

2

6

หนองบัว

10

-

-

2

7

9

รวมทั้งสิ้น

23

24

37

31

115


 

 

 

 

 

ข้อมูลนักศึกษารายหมู่บ้านประจำภาคเรียนที่ 2/2553

หลักสูตร2551(ใหม่)

หลักสูตร2544(เก่า)  กศน. ตำบลหนองบัว



 

ชื่อหมู่บ้าน 

 

หมู่ที่ 

ระดับม.ต้น

ระดับม.ปลาย

 

รวม 

ชาย 

หญิง 

ชาย 

หญิง 

หนองบัว 

1

- 

- 

- 

- 

- 

หนองบัว 

2

- 

- 

- 

- 

- 

หนองเรือ 

3

- 

1 

- 

1 

2 

หัวหนอง 

4

- 

- 

1 

- 

1 

โนนชัย 

5

- 

- 

- 

- 

- 

อีเม้ง 

6

- 

1 

- 

1 

2 

ขุมเงิน 

7

- 

- 

1 

- 

1 

หนองกอง 

8

- 

- 

- 

- 

- 

เหล่า 

9

- 

- 

- 

- 

- 

หนองบัว

10

- 

- 

- 

- 

- 

รวมทั้งสิ้น 

- 

2 

2 

2 

6 

                 

 

 

**หมายเหตุ จำนวนข้อมูลนักศึกษารายหมู่บ้าน ดังที่กล่าวมานี้ เป็นยอดของวันที่  24 มีนาคม พ.ศ.2553

 

ผลการดำเนินงานปีที่ผ่านมา ( เชิงปริมาณ, เชิงคุณภาพ )

การ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นการจัดการศึกษาให้ผู้พลาดโอกาสทางการศึกษาหรือ ไม่ได้รับการศึกษาที่สถานศึกษาในระบบจัดให้โดยใช้หลักเกณฑ์และวิธีการจัดการ ศึกษานอกโรงเรียนหลักสูตรขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544โดยเน้นการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับประชากรวัยแรงงาน15-59 ปีเป้าหมาย

นักศึกษากศน.ตำบลหนองบัวโดยแยกเป็น

 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นจำนวน  57 คน พบกลุ่มทุกวันอังคาร

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย  65 คน  พบกลุ่มทุกวันพุธ

โครงการปฐมนิเทศนักศึกษา สถานที่ดำเนินการ หอประชุมอำเภออาจสามารถ

5       ประจำภาคเรียนที่1/52 เป้าหมาย กศน.ตำบลละ 30 คน สามารถดำเนินการได้ 30 คน

6       ประจำภาคเรียนที่2/52 เป้าหมาย กศน.ตำบลละ 20 คน สามารถดำเนินการได้ 26 คน

โครงการสอนเสริม กลุ่มวิชาพื้นฐาน

วิชาภาษาอังกฤษ เป้าหมาย กศน.ตำบลละ 35 คน สามารถดำเนินได้  31 คน

 วิชาวิทยาศาสตร์ เป้าหมาย กศน.ตำบลละ 35 คน สามารถดำเนินได้  34 คน

วิชาคณิตศาสตร์   เป้าหมาย กศน.ตำบลละ 35 คน สามารถดำเนินได้  32 คน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  ทำเนียบบุคลากร



นายวัชรพงศ์ จิตไพศาล

 หัวหน้ากศน.ตำบลหนองบัว

 



 
ห้องสมุดอิเล็คทรอนิกส์ ศูนย์ส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาสัย สำนักบริหารงานการศึกษา
Logo 1
ETV
สถานีวิทยุศึกษา


Advertising Zone    Close
 
Online:  1
Visits:  9,613
Today:  8
PageView/Month:  18

ยังไม่ได้ลงทะเบียน

เว็บไซต์นี้ยังไม่ได้ลงทะเบียนยืนยันการเป็นเจ้าของเว็บไซต์กับ Siam2Web.com